รายละเอียดโครงการ
แผนพัฒนา โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 ปี 2570 ตัวชี้วัด (KPI) ผลที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงาน
แผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี (เล่มหลัก)

แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2566 - 2570

หน้าที่ : 70
ลำดับที่ : 1
โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคจังหวัดเพชรบูรณ์ 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรคกลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ 2. ผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำได้รับการรักษา คัดกรองวัณโรคด้วยการตรวจ x-ray ปอดให้กับกลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำทุกราย 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 ผู้ต้องขังในเรือนจำได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค ร้อยละ 100 ผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำได้ขึ้นทะเบียนและรับการรักษาตามมาตรฐาน กองสาธารณสุข
แผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี (เปลี่ยนแปลง)

แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2566-2570 (เปลี่ยนแปลง) ครั้งที่ 1/2566

หน้าที่ : 5
ลำดับที่ : 1
โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคจังหวัดเพชรบูรณ์ 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใน ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ/ ทัณฑสถาน ประชากร 608 2. เพื่อขึ้นทะเบียนและให้ การรักษาผู้ที่ป่วยเป็นวัณโรค ตามมาตรฐานให้หายขาด 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด ของวัณโรคในเรือนจำ/ ทัณฑสถาน รวมถึงในชุมชน 1. ผู้ต้องขังและเจ้าหน้าที่ เรือนจำจังหวัดเพชรบูรณ์และ เรือนจำอำเภอหล่มสัก 2. ประชากรกลุ่มเสี่ยง 608 ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลสังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ 500,000 3,600,000 3,600,000 3,600,000 3,600,000 1. ผู้ต้องขังและเจ้าหน้าที่ เรือนจำจังหวัดเพชรบูรณ์ และเรือนจำ อำเภอหล่มสัก ได้รับการคัดกรอง วัณโรค X-ray ปอด ร้อยละ 100 2. ประชากรกลุ่มเสี่ยง 608 ในพื้นที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล สังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้รับการคัดกรอง วัณโรค X-ray ปอด ร้อยละ 80 ผู้ป่วยวัณโรคใน เรือนจำ/ทัณฑสถาน จังหวัดเพชรบูรณ์และ ผู้ป่วยในเขต รพ.สต. สังกัด อบจ. ทุกราย ได้รับการขึ้นทะเบียน และรักษาดูแลตาม มาตรฐานให้หาย จากการเป็นวัณโรค ตลอดจนเป็นการควบคุม ตัดวงจรการแพร่กระจาย เชื้อและการป้องกัน การเกิดวัณโรคดื้อยา กองสาธารณสุข
แผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี (เปลี่ยนแปลง)

แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2566 - 2570 (เปลี่ยนแปลง) ครั้งที่ 2/2567

หน้าที่ : 5
ลำดับที่ : 1
โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคจังหวัดเพชรบูรณ์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาธารณสุข เป็นผู้ช่วยนักรังสี 2. เพื่อจัดซื้อเสื้อผู้ป่วย (เสื้อผูกข้าง) สำหรับเปลี่ยนในการตรวจเอกชเรย์ปอด สถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 0 400,000 500,000 500,000 500,000 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่ม 608 ได้รับการตรวจ คัดกรองวัณโรคด้วยรถโมบาย เอกซเรย์ปอด 2. บุคลากรสาธารณสุข ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ 1. ผู้ป่วยในเขตรพ.สต. สังกัดอบจ.ทุกราย ได้รับการขึ้นทะเบียน การรักษาตามมาตรฐาน 2. บุคลากรสาธารณสุข ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาธารณสุข เป็นผู้ช่วยนักรังสี กองสาธารณสุข